ปัจจุบันมีเครื่องดัดท่อเป็นเครื่องมือช่างที่นิยมใช้ในหลายๆอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมก่อสร้าง วิศวกร
ขั้นตอนในการเลือกเครื่องดัดท่อ
1.ทราบประเภทของท่อ เช่น ท่อสแตนเสล ท่อไอเสีย ท่อPVC ท่อพีอี ท่อน้ำประปา ท่อทองแดง ท่อเหล็ก ท่อเหล็กร้อยสายไฟ ท่อพีวีซี ท่อไซเลอร์ ท่อพีพีอาร์ ท่อPPR ท่อPE ท่อ ดัดท่อแป๊ปกลม
2.ลักษณะของท่อ ท่อกลม ท่อเหลี่ยม
3.ODของท่อหรือขนาดของท่อ ขนาดของวงนอกของท่อ ขนาดของวงในของท่อ
4.รูปทรงที่ต้องการดัดท่อ เช่น ดัดท่อทรงท่อไอเสีย ดัดท่อทรงตัวยู ดัดท่อทรงแอล ดัดท่อทรง90องศา ดัดท่อทรง180องศา ดัดท่อทรงซิกแซก ดัดท่อวงกลม ดัดท่อ360องศา ดัดท่อโครงหลังคา
งานดัดท่อส่วนใหญ่จะมีปัญหาเรื่องของชิ้นงานที่ห้ามมีรอยท่อ ในบริเวณท่อของท่องอาจจะเป็นรอย หรือ ท้องของท่อย่น ซึ่งส่งผลต่อชิ้นงานของนายช่าง ทางที่ดีควรเลือกเครื่องดัดท่อให้ตรงกับประเภทของท่อ และเรื่องของขนาดของท่อจะส่งผลมากกับการเลือกโมลด์ของท่อ กรณีท่อสแตนเสลจะเป็นท่อที่ผิวของท่อสแตนเสลมีการเกิดรอยได้ง่ายมากเพราะผิวของท่อสแตนเสลนิ่มและอ่อนตัว ควรใส่ในพิเศษในการเลือกโมลด์และหากนายช่างดัดท่อสแตนเสลแบบที่มีค่า R แคบยื่งส่งผลต่อท่อสแตนเสลที่จะมีรอยได้ง่าย ย่น
หุนเป็นหน่วยวัดความยาวของท่อที่ทุกคนๆใช้กันในสลก
ขนาดของท่อที่ทุกคนต้องทราบ
ท่อเหล็ก 1/8” = 1 หุน
ท่อเหล็ก 3/16” = 1 หุนครึ่ง
ท่อเหล็ก 1/4” = 2 หุน
ท่อเหล็ก 5/16” = 2 หุนครึ่ง
ท่อเหล็ก 3/8” = 3 หุน
ท่อเหล็ก 7/16 = 3 หุนครึ่ง
ท่อเหล็ก 1/2 = 4 หุน
ท่อเหล็ก 9/16 = 4 หุนครึ่ง
ท่อเหล็ก 5/8 = 5 หุน
ท่อเหล็ก11/16” = 5 หุนครึ่ง
ท่อเหล็ก3/4” = 6 หุน
ท่อเหล็ก13/16”= 6 หุนครึ่ง
ท่อเหล็ก7/8” = 7 หุน
ท่อเหล็ก15/6” = 7 หุนครึ่ง
ท่อเหล็ก 1 = 8 หุน